การไฟฟาสวนภูมิภาค อําเภอหาดใหญ ติดตั้งระบบเคเบิลใตดินบริเวณถนนนิพัทธอุทิศ 1,2,3 และถนนเสนหานุสรณ

posted in: Uncategorized | 0

Post Date : Wednesday, Aug 20th, 2008 at 10:51 am

Fault Indicator

ตามที่ กฟภ.อ.หาดใหญ ไดติดตั้งในระบบเคเบิลใตดินบริเวณถนนนิพัทธอุทิศ 1,2,3 และถนนเสนหานุสรณ โดยมีทั้ง ระบบจํานายแรงต่ํา และระบบจําหนายแรงสูง 33 KV ระบบจําหนายแรงต่ํามีการจายไฟออกจากหมอแปลง 3-4 วงจรซึ่งแตละวงจรจะจายไฟเปนระยะทางประมาณ 300-400 ม. และมี MCCB  ติดตั้งเปนอุปกรณปองกันที่ตนหมอแปลง หากเกิด Faultในระบบจะสามารถหาตําแหนงของ Fault ไดโดยสังเกตุที่ตัว MCCB สวนระบบจําหนายแรงสูงที่จายใหหมอแปลงแตละเครื่องจะถูกฝงไวใตดินโดยจะโผลพนดินก็ตอเมื่อตองการจายไฟใหหมอแปลงแตละเครื่องหรือสวิตชตัดตอน แตเนื่องจากมีการจายไฟเปนระยะทางที่ไกล หากเกิด Fault ในระบบจะทําใหเสียเวลาในการเครียลไลน ทําใหจําเปนตองติดตั้ง Fault Indicator ในระบบจําหนายแรงสูงบริเวณตนหมอแปลงเปนระยะๆ แยกแตละเฟส เพื่อใหการคนหาตําแหนง Fault เปนไปอยางรวดเร็ว ซึ่งในพื้นที่ กฟภ.อ.หาดใหญ มีการติดตั้งใชงานจํานวน 183 ชุด โดยมีรายละเอียดดังนี้

 

emg-hadyai

 

1.หลักการทํางานของอุปกรณ

Fault Indicator EMG Type FLA3 ทํางานโดยหลักของ CT (current transfer) ขดลวดภายในอุปกรณถูกเหนี่ยวนําโดย electro magnetic field จากสายสงไฟฟาแรงสูง ซึ่งขณะเกิด Fault จะมี inrush current สูงพอที่อุปกรณตรวจจับไดตามที่ตั้งคาไวอุปกรณก็จะสงสัญญาณเตือนในรูปแบบ ไฟ LED และแถบสีแดงสม ซึ่งจะทํางานลักษณะเดียวกันทั้งเวลากลางวันและกลางคืน โดยสัญญาณเตือนจะแสดงในตําแหนงที่เกิด Fault จนถึงแหลงจายไฟ อุปกรณทุกตัวที่อยูในวงจรนี้ จะมีสัญญาณเตือนในรูปแบบของไฟ LED และแถบสีแดงสมแสดง

2.การนําไปใชงาน

ใหวงจรจายไฟจากซายไปขวา และหากเกิด FAULT ในตําแหนงตามรูป FAULT INDICATOR จะมีการทํางานโดยแสดงผลในรูปของไฟ LED และหมุนแถบสีแดงสมลงมา โดย FAULT INDICATOR ตําแหนง F1,F2,F3 จะทํางาน สวน F4 จะไมทํางาน แสดงใหเห็นวาจุดเกิด FAULT อยู่ระหวาง F3 กับ F4

emg-hadyai-2

3.สัญญาณเตือนตางๆ

3.1 หลอด LED สีแดง 6 ดวง รอบตัวอุปกรณ ดังแสดงในภาพเปนสวนที่แจงวามี Fault เกิดขึ้น และแถบสีแดงสมก็จะหมุนลงมา ในเวลากลางวันจะมอง LED ดังกลาวไมชัดเจน ตองอาศัยมองแถมสีสมประกอบดวยโดยเมื่อเกิด FAULT ขึ้น LED จะกระพริบ 1 ครั้งตอวินาที โดยสามารถกําหนดใหอุปกรณมีการรีเซทตัวเองเมื่อมีไฟกลับคืน ก็ไดโดยกําหนดที่ FUNCTION AUTORST เปน ON แตจะมีขอเสียกรณี CIRCUIT BREAKER มีการทริปรีโคลส และสามารถจายไฟได LED ก็จะดับดวย แตหากกําหนดเปน OFF ตองปรับตั้งคาเวลา RESET TIME โดยสามารถปรับตั้งไดตั้งแต 30 – 720 นาที

3.2 LED สีแดง 1 ดวง ที่ชี้ลงขางลาง ดังรูป แสดงวาตัว FLA3 พรอมที่จะรับคําสั่งและสงขอมูลกับ remote control หลังจากไดรับคําสั่ง wake up จากรีโมท LED จะกระพริบ 1 ครั้งตอวินาที  ถาไมไดมีการสงคําสั่งใด ๆ จากตัวรีโมทนานเกิน 3 นาที ตัว FLA3 จะรีเซทตัวเองกลับไป stand by mode ถาตองการสงคําสั่งจากรีโมทไป FLA3 อีก ก็ตอง wake up กอนเสมอ

3.3 แถบสีแดงสม   จะแสดงเตือนพรอมกันกับ LED สีแดง 6 ดวง เมื่อเกิด FAULT และจะหมุนกลับเขาที่เมื่อมีการ reset ระบบ  โดยจะสังเกตไดงายเฉพาะตอนกลางวัน  ถาแสงแดดจา การมอง LED อาจจะยากกวาการมองที่แถบสีแดงสมนี

4.คา SETTING อื่นๆ ของ FAULT INDICATOR

4.1 คา Operating Current เปนคาที่ใชสําหรับกําหนดให FAULT INDICATOR เริ่มทํางานที่กระแสลัดวงจรเทาไร ซึ่งปรับตั้งคาไดตั้งแต 40 A to 1500 A โดยปรับไดครั้งละ 20 A

4.2 คา Minimum pulse duration เปนคาระยะเวลานอยที่สุดที่ FAULT INDICATOR จะมีการทํางาน ซึ่งสามารถปรับไดตั้งแต 40 msec ถึง 300 msec โดยปรับตั้งไดครั้งละ 20 msec

5.แบตเตอรรี่

ในสภาวะปกติ FAULT INDICATOR จะใชพลังงานไฟฟาจาก CAPACITOR ในตัว FAULT INDICATOR สวนพลังงานจากแบตเตอรรี่ จะใชเมื่อเกิด FAULT โดยจะใชในการทํางานของ LED และการหมุนของแถบสีแดงสม โดยแบตเตอรรี่มีขนาด 3.6 V.DC ดังกลาวจะมีอายุการใชงานประมาณ 10 ป และกรณี Low battery จะสามารถทํางานไดอีก 6 เดือน ทั้งนี้แบตเตอรรี่ดังกลาวไมมีขายทั่วไป สวนแบตเตอรรี่ใน Remote เปนขนาด 9V ซึ่งเปนชนิดที่มีจําหนายทั่วไป

Source : http://www.pea.co.th/peas3/1207/?p=751